แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (PHQ-A)

วัยรุ่นอาจไม่สามารถบอกได้ว่ามีภาวะซึมเศร้า หรือมีอารมณ์เศร้า แต่ภาวะเศร้าในวัยรุ่นอาจแสดงออกมาในรูปแบบอาการอื่นๆ เช่น มีพฤติกรรมเสี่ยงอันตราย ทำร้ายตัวเอง ติดเกม ดื่มแอลกอฮอล์หรือใช้สารเสพติด เป็นต้น

ทำแบบประเมิน (PHQ-A)

แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (PHQ-A) Ver.2

วัยรุ่นอาจไม่สามารถบอกได้ว่ามีภาวะซึมเศร้า หรือมีอารมณ์เศร้า แต่ภาวะเศร้าในวัยรุ่นอาจแสดงออกมาในรูปแบบอาการอื่นๆ เช่น มีพฤติกรรมเสี่ยงอันตราย ทำร้ายตัวเอง ติดเกม ดื่มแอลกอฮอล์หรือใช้สารเสพติด เป็นต้น

ทำแบบประเมิน (PHQ-A) Ver.2

แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยเด็ก (CDI)

วัยเด็ก อาการของโรคซึมเศร้าอาจไม่ได้แสดงออกมาชัดเจนในรูปแบบการเศร้า หรือ ร้องไห้ แต่อาจมีอาการ หงุดหงิดก้าวร้าว เก็บตัว มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป จนก่อให้เกิดปัญหาต่อชีวิตประจำวัน หรือ การเรียน เช่น การเล่นเกมส์มากขึ้น หรือ ติด social มากขึ้น เป็นต้น

ทำแบบประเมิน (CDI)

แบบประเมินสมาธิสั้น (SNAP-IV)

สมาธิสั้น เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของสมอง ในประเทศไทยพบร้อยละ 8.1 ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา อาการที่พบในเด็กสมาธิสั้น คือ ขาดสมาธิ โกรธ วู่วาม ซนและอยู่ไม่นิ่ง

ทำแบบประเมิน (SNAP-IV)

    คำชี้แจงสำหรับการใช้เครื่องมือประเมินโดย เด็กและวัยรุ่น
  • แบบประเมินเหล่านี้ใช้เพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น ไม่ใช่การวินิจฉัยโรค
  • ผลการประเมินจะมีความถูกต้องเมื่อน้องๆตอบตามความเป็นจริง
  • อย่าใช้เวลาในการตอบแต่ละคำถามนานเกินไป พยายามตอบทันทีที่อ่านคำถามและคำตอบเสร็จ
  • ผลการประเมินจะสะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมของตัวน้องๆ ในช่วงเวลาที่ทำการประเมิน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ (การทำแบบประเมินซ้ำ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ควรมีระยะเวลาห่างจากครั้งที่ผ่านมาอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป)